เมนู

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม
ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

21. อัตถิปัจจัย


[739] 1. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ 1 ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ.
[740] 2. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[741] 3. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ 1 ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ.
4. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย
ปหาตัพพธรรม
ฯลฯ มี 3 วาระ (วาระที่ 4-6)
พึงกระทำเหมือนกับทัสสเนนะ.
[742] 7. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 5 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ 1 ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมที่เกิดพร้อมกัน
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายเป็น ปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
มหาภูตรูป 1 ฯลฯ
สำหรับอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป 1 ฯลฯ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา.
บุคคลพิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ กายะ รูป ฯลฯ โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ
โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้, รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปทั้งหลาย.
[743] 8. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ เพราะปรารภจักษุนั้น
ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา
ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลย่อมยินดีซึ่งโสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[748] 9. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ภาวนายปาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ เพราะปรารภจักษุนั้น
ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส
ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวปหาตัพพธรรม
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[745] 10. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนน-
ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปทาตัพพธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ 1 ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดพร้อมกัน และหทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 และหทยวัตถุ ฯลฯ.
[746] 11. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดพร้อมกัน และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง และกวฬี-
การาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง และรูป-
ชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[747] 12. ภาวนาปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

พึงกระทำเป็น 2 วาระ. (วาระที่ 12-13)

22. นัตถิปัจจัย ฯลฯ 24. อวิคตปัจจัย


[748 ] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของวิคตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.


การนับจำนวนวาระในอนุโลม


[749] ในเหตุปัจจัย มี 7 วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี 8 วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี 10 วาระ ในอนันตรปัจจัย มี 7 วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี
7 วาระ ในสหชาตปัจจัย มี 9 วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี 3 วาระ ในนิสสย-